EP 12 เฉลยเเบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 วิทยาศาสตร์กายภาพ (เคมี) ม.5 เล่ม 1 | บทที่ 4 พลังงาน
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
โหลดไฟล์ https://drive.google.com/file/d/13vgX2B81W6SPPC0wOUoK5cuZ986ezfIP/view?usp=sharing
วิทยาศาสตร์กายภาพเล่ม1 เฉลยเเบบฝึกหัดท้ายบทที่4 พลังงาน เฉลยเเบบฝึกหัดบทที่4 บทที่4 เฉลย เฉลยเเบบฝึกหัด เล่ม1 ม.5 KMEKRUBOOM เคมีไม่ได้ยากอย่างที่คิด
เคมีอินทรีย์ : แบบฝึกหัด 12.2 ข้อ04
เล่ม : เคมี เพิ่มเติม ม.46 เล่ม5
บท : เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
Playlist : https://www.youtube.com/playlist?list=PLrEFzH81p36gPRkMvpJPG5noMUrRC7XMO
World wide weekend นักเคมีทดลอง สสารที่เผาไหม้ได้น่ากลัวที่สุด (6พ.ย.59)
นักเคมีทดลอง ได้ค้นพบสสารที่เป็นน่ากลัวและเป็นอันตรายอย่างมาก คือ การเผาทำลายตัวเองของแอมโมเนียม ไดโครเมท และการสันดาปของเมอร์คิวรี่ ไธโอไซยาเนท โดยเมื่อทำการจุดไฟเจ้าสสารที่ว่าก็เกิดปฏิกิริยาขึ้นดังนี้
1. ผงสีส้มเกิดลุกไหม้อย่างรวดเร็วจนกลายเป็นผงสีดำสนิทกระจายไปทั่วและตรงกลางของมันก็เกิดเป็นหลุมไฟขนาดใหญ่คล้ายกับภูเขาไฟ ซึ่งผงสีส้มที่ว่านี้คือสารแอมโมเนี่ยม ไดโครเมทซึ่งเมื่อสัมผัสความร้อนแล้ว ก็จะปลดปล่อยก๊าสไนโตรเจน น้ำและ แอมโมเนี่ยมออกไซด์ออกมาทำให้เป็นเหมือนภูเขาไฟอย่างที่เห็น
2. หลังผงสีส้มทำการลุกไหม้ไประยะหนึ่งแล้ว ก็เกิดมีสิ่งที่คล้ายหนวดของปลาหมึกยักษ์สีขาวผุดขึ้นมาจากกองไฟ โดยสิ่งที่ทำให้เกิดปฏิกิริยานี้คือ เมอร์คิวรี่ ไธโอไซยาไนต์ ซึ่งเป็นสารสีขาวเมื่อโดนความร้อนจะจับตัวกลายเป็นของแข็งยาวคล้ายหนวดปลาหมึก ทั้งนี้เพราะมันได้เปลี่ยนสภาพตัวเองไปเป็นสารที่มีชื่อว่า คาร์บอน ไนไตรท์
การลุกไหม้ที่อลังการของทั้งสองสารนี้ ทำให้ครั้งหนึ่งมันเป็นที่นิยมอย่างมากในร้านพลุและดอกไม้ไฟถึงขนาดมีชื่อเรียกว่า “พญางูของฟาโรห์” แต่ก็ถูกระงับการขายไปเพราะการลุกไหม้ของพวกมันเป็นพิษต่อร่างกายมนุษย์
รายการ World Wide Weekend เสิร์ฟข่าวสารความเคลื่อนไหวทั่วทุกมุมโลกส่งตรงถึงหน้าจอ ออกอากาศ ทุกวันเสาร์อาทิตย์ ทางช่อง 3SD เวลา 6.25 7.00 น. ดูรายการย้อนหลังได้ที่ http://tv.bectero.com/ หรือทาง Facebook : https://www.facebook.com/becteroTV/?fref=ts
ความรู้เรื่อง หิน – วิทยาศาสตร์รอบตัว – SciMath Family
คลิปวิดีโอนี้จะว่าด้วยเรื่องของ \”หิน\” นะคะ
หินเกิดขึ้นได้อย่างไร และมีกี่ประเภท น้องๆจะได้รู้คำตอบทั้งหมดจากคลิปวิดีโอนี้แน่นอนค่ะ
หินมีกี่ชนิด ความรู้วิทยาศาสตร์ ความรู้รอบตัว
ความรู้เรื่องเมฆ : https://youtu.be/oYx6wadijyA
ระบบย่อยอาหาร : https://youtu.be/5bznf5qHNpM
📌สามารถติดต่อทีมงาน Scimath ได้ที่ :
Line : @scimath_family
Facebook : http://www.facebook.com/SciMathFamily
โทร : 0929516695
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (วิทยาศาสตร์ ม. 2 เล่ม 2 หน่วยที่ 8 บทที่ 1 แหล่งพลังงาน)
วีดิทัศน์การจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 2 หน่วยที่ 8 ทรัพยากรพลังงาน บทที่ 1 แหล่งพลังงาน
วีดิทัศน์นี้จัดทำขึ้นภายใต้โครงการ Project 14 ของสสวท. ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://proj14.ipst.ac.th/
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆTips